วันอังคารที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

 กรมพลศึกษา  ได้รับการสถาปนา เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2476 ให้เป็นกรมหนึ่งในกระทรวงธรรมการตามพระราชบัญญัติการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2476 โดยมีหน้าที่จัดการพลศึกษาของชาติ ซึ่งตั้งอยู่ในกระทรวงธรรมการ รัฐบาลในสมัยนั้นมีนโยบายที่จะให้บุคคลแม้ว่าได้รับจริยศึกษา และพุทธศึกษามาแล้ว ให้ได้รับการพลศึกษาด้วย ซึ่งจะทำให้เรามีร่างกายแข็งแรง ใจคอหนักแน่น อันจะเป็นประโยชน์ให้แก่ประเทศชา อ่านเพิ่มเติม

สมรรถภาพทางกาย (Physical fitness) หมายถึง ภาพความสามารถของร่างกายในการประกอบการงานหรือ กิจกรรมทางกาย อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นอย่างดีโดยไม่เหนื่อยเร็ว สมรรถภาพทางกายเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาการทางด้านร่างกาย ของมนุษย์ สมรรถภาพทางกายของบุคคลทั่วไปจะเกิดขึ้นได้จากการเคลื่อนไหวร่างกาย หรือออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ แต่ถ้าหยุดออกกำลังกายหรือเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงเมื่อใด อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้บทที่ 13

การช่วยฝืนคืนชีพ

เมื่อพบผู้ป่วยหมดสติหรือไม่เคลื่อนไหว ต้องสำรวจตามขั้นตอนการสำรวจพื้นฐาน ก่อนที่จะเข้าสู่ขั้นตอนการกู้ชีวิต ดังนี้
1.ตรวจสอบดูว่าผู้ป่วยหมดสติหรือไม่ โดยการเขย่าตัวแรงๆ พอที่จะปลุกคนหลับให้ตื่น ซึ่งอาจพูดว่า “คุณ คุณ.ตื่น ตื่น.เป็นอะไรหรือเปล่า”
2.เรียกขอความช่วยเหลือจากผู้อื่น ซึ่งอาจพูดว่า ช่วยด้วย มีคนหมดสติ
3.จัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายราบบนพื้นที่แข็ง เพื่อความสะดวกในการกดหน้าอกหรือนวดหัวใจและทำให้แรงบีบเลือดออกจากหัวใจได้มาก ในการทำซีพีอาร์นั้น จะต้อง อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้บทที่ 12

เมื่อวัยรุ่นมีภาวะความขัดแย้งภายในกลุ่ม  ซึ่งอาจเกิดจากสาเหตุใดก็แล้วแต่ ย่อมมีปฏิกิริยาหรือการตอบสนองโต้ตอบกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นนั้น ซึ่งมีได้หลายรูปแบบ อาจเป็นการโต้ตอบอย่างรุนแรง ที่พบเห็นในวัยรุ่นได้บ่อยๆได้แก่การใช้กำลังอ่านเพิ่มเติม
หัวใจ สำคัญของแนวคิดกลุ่มนี้คือ การขัดแย้งนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น ความขัดแย้งเป็นปรากฎการณ์ที่มีอยู่อย่างแพร่หลายทั่วไปเราจึงไม่ควรมอง พฤติกรรมขัดแย้งว่าเป็นพฤติกรรม ที่ไม่ดีหรือเป็นปรากฏการณ์ที่ผิดปกติ ทฤษฎีความขัดแย้งทางสังคม จึงมีแนวความคิดว่า สังคมนั้นตั้งอยู่บนพื้นฐาน ของการแบ่งแยก (division) อันเกิดจากความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม วิธีการสำคัญที่นักปราชญ์อ่านเพิ่มเติม


หน่วยการเรียนรู้บทที่ 11

คำกล่าวที่ว่า ยาเสพติดเป็นฆาตกรเงียบ ที่สามารถทำลายมนุษย์ องค์กร สถาบัน สังคม ประเทศชาติได้อย่างไร้ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ การรู้จักเรียนรู้ถึงกลวิธีการป้องกันปัญหาการใช้ยาและสารเสพติด จึงเป็นวิธีการที่จะป้องกันและทำลายมหันตภัยเงียบของสารเสพติดได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อดำรงไว้ซึ่งความเป็นมนุษย์ องค์กร สถาบัน สังคม และประเทศชาติต่อ อ่านเพิ่มเติม

สารเสพติดให้โทษ

สภาพปัญหาการแพร่ระบาดของสารเสพติด
วันที่ 26 มิถุนายนของทุกปี ถือเป็นวันต่อต้านยาเสพติดโลก เนื่องจากปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาสำคัญที่ทุกประเทศทั่วโลกประสบอยู่รวมทั้งประเทศไทย ในอดีตจะพบว่าการแพร่ระบาดนั้นจะอยู่ที่ประชาชนผู้ใช้แรงงานและกลุ่มเยาวชน ชุมชนแออัด ผู้ด้อยโอกาสทางเศรษฐกิจแต่ปัจจุบันสารเสพติดกลับแพร่ระบาดเข้าไปสู่เยาวชนในสถานศึกษาแทน  อ่านเพิ่มเติม

หน่าวยการเรียนรู้บทที่ 10

ยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drug) คือยาที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดความผิดพลาดในกระบวนการรักษา และก่อให้เกิดอันตราย อาจถึงแก่ชีวิตหากเกิดความผิดพลาดในการใช้ยา หรือบริหารยา ดังนั้นจึงควรมีข้อตกลงร่วมกันในขั้นตอนการสั่งใช้ยา การจ่ายยา การบริหารยาหรือให้ยาแก่ผู้ป่วย โดยอาศัยความร่วมมือกันของสหสาขาวิชา ได้แก่ แพทย์ เภสัชกร และพยาบาล เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดและอันตรายที่อาจเกิดจากการใช้ยานั้น โรงพยาบาลศรีนครินทร์ได้สร้างความตระหนักและกำหนดแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูงขึ้น ยาที่อยู่ในกลุ่มนี้ได้แก่ อ่านเพิ่มเติม
Prescribing error คือ การเลือกใช้ยาผิด การเลือกขนาดยาผิด การเลือกรูปแบบยาผิด การสั่งยาในจำนวนที่ผิด การเลือกวิถีทางให้ยาผิด การเลือกความเข้มข้นของยาผิด การเลือกอัตราเร็วในการให้ยาผิด การเลือกความเข้มข้นความยาผิด หรือการให้คำแนะนำในการใช้ยาผิด การสั่งใช้ยาผิดตัวผู้ป่วย หรือการไม่ระบุชื่อยา ความแรง ความเข้มข้น ความถี่ของการใช้ยา ที่ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนที่ส่งถึงตัวผู้ป่วย อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 9

1. การสำรวจความปลอดภัยในโรงเรียน 
     การสำรวจความปลอดภัยในโรงเรียน จะช่วยลดความสูญเสียทรัพย์สินและส่งเสริมความปลอดภัย ทำให้สมาชิกทุกคน ในโรงเรียนจะต้องร่วมมือกัน และมีส่วนร่วมรับผิดชอบในการดูแล เอาใจใส่ สังเกต ตรวจตรา เพื่อความปลอดภัย ซึ่งในการสำรวจความปลอดภัยในโรงเรียนนั้น ประกอบด้วย การสำรวจด้านสิ่งแวดล้อม การ อ่านเพิ่มเติม

ลดอุบัติเหตุจากการทำงานให้เป็นศูนย์

บริษัท ท่าเรือประจวบ จำกัด (เครือสหวิริยา) ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณระดับทองแดงในโครงการ“รณรงค์ลดอุบัติเหตุจากการทำงานให้เป็นศูนย์ประจำปี พ.ศ. 2556” (Zero Accident Campaign 2013) ซึ่งกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน ได้จัดโครงการณรงค์ลดสถิติอุบัติเหตุจากการทำงานให้เป็นศูนย์ (Zero Accident Campaign) วัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้แก่สถานประกอบกิจการที่มีผลการดำเนินงานในการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยในการทำงานผ่านเกณฑ์การตัดสินจนสามารถลดสถิติอุบัติเหตุจากการทำงานถึงขั้นหยุดงานให้เป็นศูนย์อ่านเพิ่มเติม

การป้องกันโรคในชุมชน

ชุมชนประกอบด้วยผู้คนที่มีความแตกต่างและหลากหลายในด้านต่างๆ รวมทั้งด้านสุขภาพด้วยโดยเฉพาะลักษณะของโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนมักจะส่งผลกระทบต่อผู้คนที่อยู่อาศัยในชุมชนความรู้และความเข้าใจในเรื่องโรคและหลักการป้องกันโรคที่เป็นปัญหาในชุมชนจึงเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่นักเรียนควรได้ศึกษาและทำความเข้าใจ อ่านเพิ่มเติม

สุขภาพชุมชน

 ความหมายและความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพ
                 การสร้างเสริมสุขภาพ หมายถึง กระบวนการสร้างเสริม สนับสนุนด้านสุขภาพโดยให้บุคคลมีการปฏิบัติและการพัฒนาสุขภาพ ตลอดจนจัดการสิ่งแวดล้อมและปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพเพื่อให้บรรลุการมีสุขภาพที่ดีท้างทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญา สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้บทที่ 7

โรคติดต่อทางพันธุกรรม

โรคติดต่อทางพันธุกรรม คือ โรคที่มีความผิดปกติของยีนส์  ที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ของโครโมโซม จากพ่อและแม่ไปสู่ลูก โรคทางพันธุกรรมยังไม่สามารถหาทางรักษาได้ เมื่อเป็นแล้วจะเป็นไปตลอดชีวิต โรคติดต่อทางพันธุกรรม สามารถแบ่งความผิดปรกติ ของโครโมโซมออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ความผิดปรกติของ โครโมโซมเพศ และความผิดปรกติของโครโมโซมร่างกาย อ่านเพิ่มเติม

    

โรคจากการประกอบอาชีพ และพันธุกรรม

  โรคทางพันธุกรรม หรือ โรคติดต่อทางพันธุกรรม เป็น โรคที่เกิดขึ้นโดยมีสาเหตุมาจากการถ่ายทอดพันธุกรรมของฝั่งพ่อและแม่ หากหน่วยพันธุกรรมของพ่อและแม่มีความผิดปกติแฝงอยู่ โดยความผิดปกติเหล่านี้เกิดขึ้นมาจากการผ่าเหล่าของหน่วยพันธุกรรมบรรพบุรุษ ทำให้หน่วยพันธุกรรมเปลี่ยนไปจากเดิมได้ 
          ทั้งนี้ โรคทางพันธุกรรม นี้ เป็นโรคติดตัวไปตลอดชีวิต ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ โดย โรคทางพันธุกรรม เกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม 2 ประการ คือ ความผิดปกติของออโตโซม (โครโมโซมร่างกาย) และความผิดปกติของโครโมโซมเพศ อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้บทที่ 6

การควบคุมสื่อโฆษณากับสุขภาพโดยรัฐ

 ความจำเป็นของรัฐในการออกกฎหมายเพื่อคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค หากมองจากสภาพทางเศรษฐกิจ คงจะเป็นผลสืบเนื่องจากระบบเศรษฐกิจเสรี(Laisser Fair) ซึ่งระบบที่เปิดโอกาสให้เอกชน แข่งขันในทางการค้า โดยรัฐไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยว จนกระทั่งเกิดการผูกขาดโดยระบบทุนและกำไรในการผลิต เกิดความคิดในการใช้งานโฆษณา เพื่อจำหน่ายสินค้าและบริการ การโฆษณาถูกนำมาใช้อย่างต่อเนื่อง ทุกวันนี้รัฐได้เล็งเห็นปัญหา และความเสียเปรียบที่จะเกิดขึ้นกับผู้บริโภค อ่านเพิ่มเติม

สื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ

สื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ หมายถึง สื่อที่มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของสินค้าหรือบริการต่างๆ ที่เกี่ยวกับสุขภาพโดยผ่านช่องทางต่างๆ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น วารสาร นิตยสาร แผ่นพับ รวมทั้งการโฆษณาผ่านสื่อมวลชนต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร วิทยุ และโทรทัศน์ เป็นต้น รวมทั้งสื่อในลักษณะอื่นๆ เช่น ป้ายโฆษณา ทั้งนี้เพื่อให้ผู้บริโภครับรูข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพเพื่อกระตุ้นจูงใจให้ผู้บริโภคซื้อหรือใช้สินค้าหรือบริการนั้น อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้บทที่ 5

การปฏิบัติตามสิทธิผู้บริโภค

ผู้บริโภคมีหน้าที่ในการใช้ความระมัดระวังตามสมควร ในการซื้อสินค้าหรือบริการ ได้แก่ การให้ความสำคัญ
ฉลากของสินค้าและการโฆษณาสินค้าหรือบริการ
           1.ผู้บริโภคต้องตรวจดูฉลากของสินค้า เพื่อเป็นข้อมูลในการเปรียบเทียบสินค้าแต่ละยี่ห้อ ก่อนตัดสินใจเลือกสินค้า
ฉลากของสินค้าที่ควบคุมฉลากจะต้องระบุข้อความดังต่อไปนี้
                - ชื่อประเภท หรือชนิดของสินค้าที่แสดงให้เข้าใจ ได้ว่าสินค้านั้นคืออะไร ในกรณีที่เป็นสินค้าสั่งหรือนำเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อขายให้ระบุชื่ อ่านเพิ่มเติม

สิทธิผู้บริโภค

ผู้บริโภค ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522  หมายความว่าผู้ซื้อ หรือ ผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจ หรือผู้ซึ่งได้รับการเสนอหรือการชักชวนจากผู้ประกอบธุรกิจเพื่อให้ซื้อสินค้าหรือรับบริการ และหมายความรวมถึงผู้ใช้สินค้า หรือผู้ได้รับบริการจากผู้
ประกอบธรุกิจโดยชอบแม้มิได้ อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้บทที่ 4

ค่านิยมเรื่องเพศ

ค่านิยมของวัยรุ่นหลายประการสามารถชักนำไปสู่พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ เช่น พฤติกรรมนิยมมีแฟนในวัยเรียน พฤติกรรมที่วัยรุ่นเรียกว่า “กิ๊ก” ซึ่งวัยรุ่นยังมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับค่านิยมเหล่านี้ไม่ถูกต้อง ถึงแม้ว่าจะมองดูทันสมัย แต่ถ้านำมาปฏิบัติจะนำพาชีวิตไปสู่ อ่านเพิ่มเติม

พฤติกรรมทางเพศ

หน่วยการเรียนรู้พฤติกรรมทางเพศ
ปัญหาพฤติกรรมทางเพศของเยาวชน เป็นปัญหาสำคัญที่สุดประการหนึ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจ  ปัจจัยต่างๆมีอิทธิต่อพฤติกรรมทางเพศของเยาวชนในปัจจุบันเห็นได้ชัดเจน  ได้แก่  อิทธิพลจากครอบครัว  เพื่อน  สังคม  และ วัฒนธรรม  นักเรียนจึงควรเรียนรู้ปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่มีอิทธิพลทางเพศเพื่อจะได้ปฏิบัติอย่างเหมาะสม  ไม่ถู อ่านเพิ่มเติม    
 

หน่วยการเรียนรู้ทบที่ 3

การวางแผนพัฒนาสุขภาพของตนเอง

การวางแผนพัฒนาสุขภาพในภาพรวมทั้ง 3 แนวคิดจะเป็นไปในลักษณะที่ต้องมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน เพราะถ้าสุขภาพส่วนบุคคลไม่ดีแล้วจะส่งผมกระทบต่อสุขภาพของบุคคลในครอบครัว และเนื่องจากครอบครัวเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน ถ้าในครอบครัว อ่านเพิ่มเติม

ความหมายของสุขภาพ

ในอดีตคำว่า สุขภาพ หมายถึง สุขภาพกายเป็นหลัก ต่อมาจึงได้กล่าวถึงสุขภาพจิตร่วมไปด้วย เพราะเห็นว่าคนที่มีสุขภาพกายสมบูรณ์แข็งแรง แต่สุขภาพจิตเสื่อมโทรมหรือเป็นโรคจิตก็ไม่สามารถดำเนินชีวิตเป็นปกติสุขได้ ซ้ำร้ายอาจอ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ทบที่ 2

ระบบกล้ามเนื้อ

  ร่างกายแบ่งกล้ามเนื้อออกเป็น 3 ชนิด คือ กล้ามเนื้อยึดกระดูกหรือกล้ามเนื้อลาย (skeletal muscle or striatedmuscle) กล้ามเนื้อเรียบ (smoothmuscle) กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) โดยที่กล้ามเนื้อลายนั้นถูกควบคุมอยู่ภายใต้อำนาจจิตใจหรือรีเฟล็กซ์ ส่วนกล้ามเนื้อเรียบและกล้ามเนื้อหัวใจทำงานนอกอำนาจจิตใจ อ่านเพิ่มเติม

ระบบโครงกระดูก


  ร่างกายของมนุษย์ที่เจริญเติบโตเต็มที่จะประกอบด้วยกระดูกทั้งหมด 206 ชิ้น
แบ่งเป็น กระดูกแกน 80 ชิ้น เช่น กะโหลกศีรษะ กระดูกสันหลัง กระดูกก้นกบ 
กระดูกซี่โครง อีกพวกหนึ่ง คือ กระดูกรยางค์ จำนวน 126 ชิ้น เช่น กระดูกแขนขา 
สะบัก ไหปลาร้า เชิงกราน อ่านเพิ่มเติม
         
                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        

ระบบอวัยวะของร่างกาย บทที่1